
Super User
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษีท้องถิ่น
ภาษีโรงเรือนและที่ดิน
ภาษีโรงเรือนและที่ดิน คือ ภาษีที่จัดเก็บจากบ้านเช่า อาคาร ร้านค้า ตึกแถว บริษัท ธนาคาร โรงภาพยนตร์ แฟลต หอพัก คอนโดมิเนียม ร.ร.สอนวิชาชีพ โรงงานอุตสาหกรรม สนามมวย สนามกอล์ฟ ท่าเรือ บ่อนไก่ ฟาร์มสัตว์ คลังสินค้า และบริเวณที่ดินที่ปกติใช้ร่วมรับโรงเรือนนั้น โดยมีห้วงเวลาในการจัดเก็บประจำทุกวันที่ 1 มกราคม ถึงสิ้นเดือนกุมภาพันธ์ ของทุกปี
การยื่นแบบประเมินและการชำระภาษี
- เจ้าของทรัพย์สินหรือผู้รับมอบอำนาจยื่นแบบแสดงรายการทรัพย์สิน (ภ.ร.ด.2) ต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ ซึ่งทรัพย์สินนั้นตั้งอยู่ ตั้งแต่วันที่ 2 มกราคม – สิ้นเดือนกุมภาพันธ์ ของทุกปี
- ถ้าค่าภาษีเกิน 9,000 บาท สามารถผ่อนชำระได้ 3 งวดๆละเท่ากัน
- ผู้รับการประเมินต้องชำระเงินภายใน 30 วัน นับแต่วันที่ได้รับแบบแจ้งการประเมิน
อัตราค่าปรับ
- ผู้ใดละเลยไม่ยื่นแบบแสดงรายการมีความผิด โทษปรับไม่เกิน 200 บาท และเรียกเก็บภาษีย้อนหลังได้ไม่เกิน 10 ปี
- ผู้ยื่นแบบแสดงรายการไม่ถูกต้องตามความจริงหรือไม่บริบูรณ์มีความผิดต้อง ระวางโทษจำคุกไม่เกิน 6 เดือน หรือปรับไม่เกิน 500 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ และเรียกเก็บภาษีย้อนหลังได้ไม่ เกิน 5 ปี
- ถ้าชำระภาษีเกินกำหนด 30 วันนับแต่วันถัดจากวันที่ได้รับแจ้งการประเมิน ให้เสียเงินเพิ่ม ดังนี้
- ไม่เกิน 1 เดือน เสียเงินเพิ่ม 2.5% ของค่าภาษี
- เกิน 1 เดือนแต่ไม่เกิน 2 เดือนเสียเงินเพิ่ม 5% ของค่าภาษี
- เกิน 2 เดือนแต่ไม่เกิน 3 เดือนเสียเงินเพิ่ม 7.5%ของค่าภาษี
- เกิน 3 เดือนแต่ไม่เกิน 4 เดือนเสียเงินเพิ่ม 10% ของค่าภาษี
- เกิน 4 เดือนขึ้นไปให้ยึดหรือขายทอดตลาดทรัพย์สิน โดยมิต้องขอให้ศาลสั่งหรือออกหมายยึด
ภาษีบำรุงท้องที่
ภาษีบำรุงท้องที่ คือ ภาษีที่จัดเก็บจากเจ้าของที่ดินหรือผู้ครอบครองที่ดินนั้น โดยมีห้วงจัดเก็บประจำทุก ภาษีบำรุงท้องที่ วันที่ 1 มกราคม ถึง 30 เมษายน ของทุกปี
อัตราภาษี
เสียตามราคาปานกลางของที่ดิน มีหลายอัตรา ขอทราบรายละเอียดกับเจ้าหน้าที่ ได้โดยตรง ที่ดินว่างเปล่า หรือไม่ได้ทำประโยชน์ จะต้องเสียภาษีเป็น 2 เท่า ของอัตราปกติ
การอุทธรณ์การฟ้องศาล
- ยื่นอุทธรณ์ผ่านเจ้าพนักงานประเมินภายใน 30 วัน
ยื่นแบบแสดงรายการที่ดินและการชำระภาษี
- ให้เจ้าของที่ดิน,ผู้ครอบครองที่ดิน ยื่นแบบแสดงรายการที่ดิน (ภ.บ,ท.5) และชำระภาษีปีละครั้ง ตั้งแต่วันที่ 2 มกราคม ถึง 30 เมษายน ของทุกปี
- ผู้ที่ได้รับโอนกรรมสิทธิ์ที่ดินใหม่หรือเนื้อที่ดินเปลี่ยนแปลงให้ยื่นแบบนับแต่วันที่โอนกรรมสิทธิ์
อัตราโทษและค่าปรับ
- ไม่ยื่นแบบภายในกำหนดเสียเงินเพิ่ม 10% ของค่าภาษีที่ประเมิน
- ยื่นรายการไม่ถูกต้องเสียเงินเพิ่ม 10% ของค่าภาษีที่ประเมินเพิ่ม
- ชี้เขตแจ้งจำนวนเนื้อที่ดินไม่ถูกต้อง ต้องเสียเงินเพิ่มอีก 1 เท่า ของค่าภาษีที่ประเมินเพิ่ม
- ชำระภาษีเกินกำหนดวันที่ 30 เมษายน ต้องเสียเงินเพิ่ม 24% ต่อปี ของค่าภาษี
ภาษีป้าย
ภาษีป้าย คือ ภาษีที่จัดเก็บจากป้ายแสดงชื่อ ยี่ห้อ หรือเครื่องหมายการค้าหรือโฆษณาหรือกิจการอื่น เพื่อหารายได้ไม่ว่าจะแสดงหรือโฆษณาไว้ที่วัตถุใดๆ ด้วยอักษรภาพหรือเครื่องหมายที่เขียน แกะสลักจารึก หรือทำให้ปรากฏด้วยวิธีอื่น โดยมีห้วงเวลาการจัดเก็บประจำทุกวันที่ ภาษีป้าย 1 มกราคม ถึง 31 มีนาคม ของทุกปี
อัตราภาษี
- ป้ายที่มีอักษรไทยล้วน คิดอัตรา 3 บาท ต่อ 500 ตร.ซม.
- ป้ายที่มีอักษรไทยปนกับอักษรต่างประเทศ หรือปนกับรูปภาพ หรือเครื่องหมายอื่นคิดอัตรา 20 บาทต่อ 500 ตร.ซม.
- ป้ายดังต่อไปนี้คิดอัตรา 40 บาทต่อ 500 ตร.ซม.
- ป้ายที่ไม่มีอักษรไทยบางส่วน หรือทั้งหมดอยู่ใต้หรือต่ำกว่าอักษรต่างประเทศ
- ป้ายที่มีอักษรไทยบางส่วนหรือทั้งหมดอยู่ใต้หรือต่ำกว่าอักษรต่างประเทศ
- ป้ายที่คำนวณพื้นที่และประเภทของป้ายแล้ว เสียภาษีต่ำกว่า 200 บาท ให้เสียในอัตรา 200 บาท
การยื่นแบบประเมินและการชำระภาษี
- ให้ยื่นแบบแสดงรายการภาษีป้าย ตั้งแต่ 2 มกราคม ถึง 31 มีนาคม ของทุกปี โดยเสียเป็นรายปี ยกเว้นป้ายที่ติดตั้งใหม่ให้ยื่นแบบแสดงรายการภายใน 15 วัน
- ชำระภาษีป้ายภายใน 15 วัน นับแต่วันได้รับแจ้งการประเมินจากพนักงานเจ้าหน้าที่
- ถ้าภาษีป้ายเกิน 3,000 บาท สามารถผ่อนชำระได้ 3 งวดๆละเท่ากัน
อัตราโทษและค่าปรับ
- ไม่ยื่นแบบแสดงรายการภาษีป้ายภายใน เดือนมีนาคมหรือหลังติดตั้งป้าย 15 วันเสียเงินเพิ่ม 10% ของค่าภาษี
- ยื่นแบบแสดงรายการภาษีป้ายไม่ถูกต้องทำให้ค่าภาษีน้อยลง ต้องเสียเงินเพิ่ม 10% ของค่าภาษีที่ประเมินเพิ่มเติม
- ไม่ชำระเงินภายใน 15 วัน นับตั้งแต่วันที่ได้รับการแจ้งการประเมินเสียเงินเพิ่ม 2% ต่อเดือน ของค่าภาษีเศษของเดือนให้นับเป็นหนึ่งเดือน
ใบอนุญาตกิจการประเภทต่างที่ต้องมีการควบคุม
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 71 แห่ง พ.ร.บ.สภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ.2537 และมาตรา 32, 54 และ 63 แห่ง พ.ร.บ.การสาธารณสุข พ.ศ.2535 ออกข้อบังคับไว้ให้กิจการประเภทต่างๆ ดังต่อไปนี้ เป็นกิจการที่ต้องมีการควบคุม
- กิจการที่เกี่ยวข้องกับการเลี้ยงสัตว์ เช่น เลี้ยงไก่,หมู ฯลฯ
- กิจการที่เกี่ยวกับอาหาร เครื่องดื่ม น้ำดื่ม
- กิจการที่เกี่ยวกับการเกษตร
- กิจการที่เกี่ยวกับยานยนต์ เครื่องจักรหรือเครื่องกล
- กิจการที่เกี่ยวกับการบริการเช่น ตู้เกมส์ ร้านเสริมสวย หอพัก ฯลฯ
- กิจการที่เกี่ยวกับสิ่งทอเช่นการเย็บผ้าด้วยเครื่องจักร ซักอบรีด ฯลฯ
- กิจการที่เกี่ยวกับ หิน ดิน ทราย ซีเมนต์
- กิจการที่เกี่ยวกับยา
- กิจการที่เกี่ยวกับไม้
- กิจการที่เกี่ยวกับปิโตรเลียม ถ่านหิน สารเคมี แก๊ส น้ำมัน เป็นต้น
เอกสารที่ต้องใช้ในการขออนุญาต
- บัตรประจำตัวประชาชน/ข้าราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ
- สำเนาทะเบียนบ้าน
- ใบอนุญาตตามกฎหมายว่าด้วยอาคาร
- เอกสารหรือหลักฐานอื่นที่เจ้าหน้าที่เห็นว่าสมควร เรียกเพิ่มเพื่อประกอบการพิจารณาอนุญาต
อัตราโทษและค่าปรับ
- ผู้ประกอบการค้ารายใด ไม่ปฏิบัติตามหรือฝ่าฝืนข้อบังคับนี้ ต้องระวางโทษตามบทกำหนดโทษแห่ง พ.ร.บ.การสาธารณสุข พ.ศ. 2535
- ไม่ชำระค่าธรรมเนียมตามกำหนดเวลาเสียค่าปรับเพิ่ม 20% ของจำนวนค่าธรรมเนียมที่ค้างชำระ เว้นแต่จะได้บอกเลิกการดำเนินกิจการก่อนกำหนด การเสียค่าธรรมเนียมตามข้อบังคับนี้
ติดต่อชำระภาษี
งานจัดเก็บรายได้ กองคลัง องค์การบริหารส่วนตำบลนาดี อำเภอนาเยีย จังหวัดอุบลราชธานี 34160. โทร. 045-251361 แฟกซ์ 045-251361 อีเมลล์ This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it.
"ท้องถิ่นดี ภาษีช่วย ท้องถิ่นสวย ภาษีสร้าง"
วิสัยทัศน์-พันธกิจ
องค์การบริหารส่วนตำบลนาดี อำเภอนาเยีย จังหวัดอุบลราชธานี ได้จัดทำเอกสารเกี่ยวกับ วิสัยทัศน์ พันธกิจ และยุทธศาสตร์การพัฒนา องค์การบริหารส่วนตำบลนาดี เพื่อประชาสัมพันธ์แก่ผู้สนใจ รายละเอียดปรากฎตามเอกสารที่แนบมาด้วยนี้
กองการศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม

นางสาวสิริวิมล ภูเด่นผา
ผู้อำนวยการกองการศึกษา
ศาสนาและวัฒนธรรม
มือถือ 061-9132941

จ่าสิบเอกอนันต์ ทำนุ
เจ้าพนักงานธุรการชำนาญงาน

นางบุญส่ง สีดี
ครูชำนาญการพิเศษ

นางจิราพร หัตถมา
ครูชำนาญการพิเศษ

นางปรียา นามวี
คครูชำนาญการพิเศษ

นางรินดา แก้วไทยเลิศ
ครูชำนาญการ

นางอภันตรีย์ สารแก้ว
ครูชำนาญการ

นางวิไล บุญแท้
คครูชำนาญการ

นางเกษจันทร์ ผาวัน
ครูชำนาญการ

นางโชติกา พรมรัตน์
ผู้ช่วยนักวิชาการศึกษา

นางสาวกนกพร สร้อยสิงห์
ผู้ช่วยเจ้าพนักงานการเงินและบัญชี

นางสาวพัชนี สารแก้ว
ผู้ช่วยครูผู้ดูแลเด็ก

นางสาวพรชนก สารแก้ว
ผู้ช่วยครูผู้ดูแลเด็ก

นางกันยา บุญพร้อม
ผู้ดูแลเด็ก (ทักษะ)

นางสาวเทียนทิพย์ บุสบาล
ผู้ดูแลเด็ก (ทักษะ)

นางสาวสายคำ โกศา
ผู้ดูแลเด็ก (ทักษะ)

นางกาญจนา หวังชื่น
ผู้ดูแลเด็ก (ทักษะ)

นางบัวไข กุลบุตร
ผู้ดูแลเด็ก (ทักษะ)

นางสาวณิชากร อารีเหลือ
ผู้ดูแลเด็ก (ทักษะ)

สิบเอกหญิงน้ำฝน โลทัง
ผู้ดูแลเด็ก (ทักษะ)
กองช่าง

นายอลงกต แสงจันทร์
ผู้อำนวยการกองช่าง
มือถือ 094-8425454

นายศิริศักดิ์ แก่นเมือง
นายช่างโยธาชำนาญงาน

นายสากล สานันต์
นายช่างไฟฟ้าชำนาญงาน

นายภัยวรรณ เกษมพร
เจ้าพนักงานประปาชำนาญงาน

นางสาวณัฐธิดา ไตรรัตนวนิช
เจ้าพนักงานธุรการชำนาญงาน

นายนัตพล บุญยืด
ผู้ช่วยนายช่างโยธา

นายนาวิน แก้วชนะ
ผู้ช่วยนายช่างไฟฟ้า

นายขคบดี สีดี
ผู้ช่วยเจ้าพนักงานธุรการ

นายนิรันดร์ โลทัง
ผู้ช่วยเจ้าพนักงานประปา

นายสิทธิกร โตนันต์
พนักงานขับเครื่องจักรกลขนาดเบา

นางสาวเจษฎาภรณ์ เท่าสาร
คนงานทั่วไป

นายสุรพล บุสบาล
พนักงานจ้างเหมา

นายอาทิตย์ ศรีโคตร
พนักงานจ้างเหมา

นางสาวเบญจลักษณ์ ธานี
พนักงานจ้างเหมา
กองคลัง

นางสาวพัทธ์ธีรา สวัสดิ์วร
ผู้อำนวยการกองคลัง
มือถือ 083-1242099

นางสาวจีรนันต์ แก้วไตรรัตน์
นักวิชาการเงินและบัญชีปฏิบัติการ

นางสาวจุฑารัตน์ พินากัน
เจ้าพนักงานการเงินและบัญชีชำนาญงาน

นางสาวปริยากร ธิมา
เจ้าพนักงานพัสดุชำนาญงาน

นางสาวอัจฉรา มุกดาหาร
เจ้าพนักงานจัดเก็บรายได้ปฏิบัติงาน

นางศรัณย่า ทะลา
เจ้าพนักงานธุรการปฏิบัติงาน

นางนิตยา ประพันธ์ศิลป์
ผู้ช่วยเจ้าพนักงานการเงินและบัญชี

นางสาวจิราภา แก้วลา
ผู้ช่วยเจ้าพนักงานจัดเก็บรายได้

นางสาวภัครินทร์ ธานี
ผู้ช่วยเจ้าพนักงานพัสดุ

นางสาวกล้วยไม้ สีดี
คนงานทั่วไป

นางสาวดวงจันทร์ โพนทัน
พนักงานจ้างเหมา

นายบุญสี คำวงศ์
พนักงานจ้างเหมา
สำนักปลัด อบต.

จ่าเอกธนิจพนธ์ ขันทอง
หัวหน้าสำนักปลัด
มือถือ 095-6191714

สิบเอกศิริศักดิ์ ศรีสุพรรณ์
นักจัดการงานทั่วไปชำนาญการ

นายภูพงศ์เกษม แฝงพงศ์
นักทรัพยากรบุคคลชำนาญการ

นายกริช เหล็กดี
นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ

นายณัฎฐพัชร ยอดผา
นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ

พันจ่าเอกอาทิตย์ ยิ่งยืน
เจ้าพนักงานธุรการชำนาญงาน

สิบเอกธวัชชัย ปทุมวัลย์
เจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทา
สาธารณภัยชำนาญงาน

นางสาวภาวิณี โลทัง
ผู้ช่วยนักทรัพยากรบุคคล

นางสาวอนุธิดา พาเรือง
ผู้ช่วยนักวิเคราะห์นโยบายและแผน

นางสาวอริศรา ทองคำภา
ผู้ช่วยนักวิชาการสาธารณสุข

นายพุฒทัย นามวี
ผู้ช่วยเจ้าพนักงานป้องกันและ
บรรเทาสาธารณภัย

นางสาวกาญจนา บุญวัง
ผู้ช่วยเจ้าพนักงานธุรการ

นางสาวนิตยา บุญเต็ม
ผู้ช่วยเจ้าพนักงานธุรการ

นายศราวุธ ประแดง
คนงานทั่วไป

นางบุญเลี้ยง อยากดี
คนงานทั่วไป

นายวันชัย วงค์หมั้น
คนงานทั่วไป

นายสัญญา พาเรือง
คนงานทั่วไป

นายพินโย โลทัง
พนักงานจ้างเหมา

นายธีรภัทร บุสบาล
พนักงานจ้างเหมา

นายอุเทน สีดี
พนักงานจ้างเหมา

นายศุภวิชญ์ สายบุญสา
พนักงานจ้างเหมา

นายวนัส ทะวาเงิน
พนักงานจ้างเหมา

นายองอาจ ศรีหาวงศ์
พนักงานจ้างเหมา

นายมนตรี ศรีหาวงศ์
พนักงานจ้างเหมา

นายวุฒิชัย ทินโนรส
พนักงานจ้างเหมา
สมาชิกสภา

นายอ่อนตา ดวงแก้ว
ประธานสภา
มือถือ 061-0466593

นายสำรอง พรมศรี
รองประธานสภา
มือถือ 086-2652809

นายพาดร สาจะลี
เลขานุการสภา
มือถือ 065-4594559

นายพิษณุ หมื่นสุข
สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบล หมู่ที่ 1

นายสุวิช ขันธวัตร
สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบล หมู่ที่ 2

นายถนอม แก้วชนะ
สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบล หมู่ที่ 3

นายพาดร สาจะลี
สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบล หมู่ที่ 4

นายทองใบ ไชยพันธ์
สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบล หมู่ที่ 5

นายสันจร โคพะทา
สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบล หมู่ที่ 6

นายประดิษฐ์ บุตรพรม
สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบล หมู่ที่ 7

นายสาธิต หัตถวงศ์
สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบล หมู่ที่ 8

นายอ่อนตา ดวงแก้ว
สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบล หมู่ที่ 9

นายคำแพง มาคะวงค์
สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบล หมู่ที่ 10

นายสำรอง พรมศรี
สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบล หมู่ที่ 11

นายไสว สานทอง
สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบล หมู่ที่ 12

นายชราวุฒ มัครมย์
สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบล หมู่ที่ 13
คณะผู้บริหาร

นางสิริบูรณ์ สนิทพรรณ
นายกองค์การบริหารส่วนตำบล
มือถือ 065-9545255

นายทวีศักดิ์ สีดี
รองนายกองค์การบริหารส่วนตำบล
มือถือ 087-2585503

นายสมพร โกศา
รองนายกองค์การบริหารส่วนตำบล
มือถือ 095-6692722

นายสายัน ทะวาเงิน
เลขานุการนายกองค์การบริหารส่วนตำบล
มือถือ 098-2056835

นายสมนึก คนไว
รองปลัดองค์การบริหารส่วนตำบล รักษาราชการแทน
ปลัดองค์การบริหารส่วนตำบล
มือถือ 095-6191714

นายสมนึก คนไว
รองปลัดองค์การบริหารส่วนตำบล
มือถือ 095-6191714
หัวหน้าส่วนราชการ

นายสมนึก คนไว
รองปลัดองค์การบริหารส่วนตำบล รักษาราชการแทน
ปลัดองค์การบริหารส่วนตำบล
มือถือ 095-6191714

นายสมนึก คนไว
ปลัดองค์การบริหารส่วนตำบล
มือถือ 095-6191714

จ่าเอกธนิจพนธ์ ขันทอง
หัวหน้าสำนักปลัด
มือถือ 095-6191714

นางสาวพัทธ์ธีรา สวัสดิ์วร
ผู้อำนวยการกองคลัง
มือถือ 083-1242099

นายอลงกต แสงจันทร์
ผู้อำนวยการกองช่าง
มือถือ 094-8425454

นางสาวสิริวิมล ภูเด่นผา
ผู้อำนวยการกองการศึกษา
ศาสนาและวัฒนธรรม
มือถือ 061-9132941

สิบเอกศิริพงษ์ รักกอก
ผู้อำนวยการกองสวัสดิการสังคม
มือถือ 061-0205399
อำนาจหน้าที่
การพัฒนาท้องถิ่นขององค์การบริหารส่วนตำบลนาดี นั้น เป็นการสร้างกระบวนการมีส่วนของชุมชนในการร่วมคิดร่วมแก้ไขปัญหา ตลอดจนร่วมสร้างร่วมส่งเสริมความเข้มแข็งของชุมชน ในเขตพื้นที่ขององค์การบริหารส่วนตำบลนาดี ให้มีส่วนร่วมในการพัฒนาท้องถิ่นในทุกด้าน การพัฒนาองค์การบริหารส่วนตำบลนาดีจะสมบูรณ์ได้ จำเป็นต้องอาศัยความร่วมมือของชุมชน ในพื้นที่เกิดความตระหนักร่วมกันแก้ไขปัญหาและความเข้าใจในแนวทางแก้ไขปัญหาอย่างจริงจัง องค์การบริหารส่วนตำบลนาดี ยังได้เน้นให้คนเป็นศูนย์กลางของการพัฒนา นอกจากนั้นยังได้เน้นการส่งเสริมและสนับสนุนให้การศึกษาเด็กก่อนวัยเรียน และพัฒนาเยาวชนให้พร้อมที่จะเป็นบุคลากรที่มีคุณภาพ โดยยึดกรอบแนวทางในการจัดระเบียบการศึกษา ส่วนด้านพัฒนาอาชีพนั้น จะเน้นพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนพึ่งตนเองในท้องถิ่น
องค์การบริหารส่วนตำบลนาดี กำหนดวิธีการดำเนินการตามภารกิจสอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ แผนพัฒนาจังหวัด แผนพัฒนาอำเภอ แผนพัฒนาตำบล นโยบายของรัฐบาล และนโยบายของผู้บริหารท้องถิ่น ทั้งนี้สามารถวิเคราะห์ภารกิจให้ตรงกับสภาพปัญหา โดยสามารถกำหนดแบ่งภารกิจได้เป็น 7 ด้าน ซึ่งภารกิจดังกล่าวถูกกำหนดอยู่ในพระราชบัญญัติสภาตำบลและ องค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537( แก้ไขเพิ่มเติมจนถึงฉบับปัจจุบัน ) และตามพระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 ดังนี้
ด้านโครงสร้างพื้นฐาน
- การจัดการและดูแลสถานีขนส่งทางบกและทางน้ำ มาตรา 67 (1)
- ให้มีน้ำเพื่ออุปโภค บริโภค และการเกษตร มาตรา 68 (1)
- ให้มีและบำรุงการไฟฟ้าหรือแสงสว่างโดยวิธีอื่น มาตรา 68 (2)
- ให้มีและบำรุงรักษาทางระบายน้ำ มาตรา 68 (3)
- การสาธารณูปโภคและการก่อสร้างอื่นๆ มาตรา 16 (4)
- การสาธารณูปการ มาตรา 16 (5)
ด้านส่งเสริมคุณภาพชีวิต
- ส่งเสริมการพัฒนาสตรี เด็ก เยาวชน ผู้สูงอายุ และผู้พิการ มาตรา 67 (6)
- ป้องกันโรคและระงับโรคติดต่อ มาตรา 67 (3)
- ให้มีและบำรุงสถานที่ประชุม การกีฬาการพักผ่อนหย่อนใจและสวนสาธารณะ มาตรา 68 (4)
- การสังคมสงเคราะห์ และการพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็ก สตรี คนชรา และผู้ด้อยโอกาส มาตรา 16 (10)
- การปรับปรุงแหล่งชุมชนแออัดและการจัดการเกี่ยวกับที่อยู่อาศัย มาตรา 16 (2)
- การสาธารณสุข การอนามัยครอบครัวและการรักษาพยาบาล มาตรา 16 (19)
ด้านการจัดระเบียบชุมชน สังคม และการรักษาความสงบเรียบร้อย
- การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย มาตรา 67 (4)
- การคุ้มครองดูแลและรักษาทรัพย์สินอันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน มาตรา 68 (8)
- การผังเมือง มาตรา 68 (13)
- การรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง มาตรา 16 (17)
- การส่งเสริมประชาธิปไตย ความเสมอภาค และสิทธิเสรีภาพของประชาชน มาตรา 16 (5)
ด้านการวางแผน การส่งเสริมการลงทุน พาณิชยกรรมและการท่องเที่ยว
- ส่งเสริมให้มีอุตสาหกรรมในครอบครัว มาตรา 68 (6)
- ให้มีและส่งเสริมกลุ่มเกษตรกร และกิจการสหกรณ์ มาตรา 68 (5)
- บำรุงและส่งเสริมการประกอบอาชีพของราษฎร มาตรา 68 (7)
- ให้มีตลาด มาตรา 68 (10)
- การท่องเที่ยว มาตรา 68 (12)
- กิจการเกี่ยวกับการพาณิชย์ มาตรา 68 (11)
- การส่งเสริม การฝึกและการประกอบอาชีพ มาตรา 16 (6)
ด้านการบริหารจัดการและการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
- การคุ้มครอง ดูแลและบำรุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มาตรา 67 (7)
- รักษาความสะอาดของถนน ทางน้ำ ทางเดิน และที่สาธารณะ รวมทั้งฝอยและสิ่งปฏิกูล มาตรา 67 (2)
- การจัดการสิ่งแวดล้อมและมลพิษต่างๆ มาตรา 17 (12)
ด้านการศาสนา ศิลปวัฒนธรรม จารีตประเพณี และภูมิปัญญาท้องถิ่น
- บำรุงรักษาศิลปะ จารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น และวัฒนธรรมอันดีของท้องถิ่น มาตรา 67 (8)
- ส่งเสริมการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม มาตรา 67 (5)
- การจัดการศึกษา มาตรา 16 (9)
- การส่งเสริมการกีฬา จารีตประเพณี และวัฒนธรรมอันดีงามของท้องถิ่น มาตรา 17 (18)
ด้านการบริหารจัดการและการสนับสนุนการปฏิบัติภารกิจของส่วนราชการและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
- สนับสนุนสภาตำบลและองค์กรปกครองส่วนท้องงถิ่นอื่นในการพัฒนาท้องถิ่น
- ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่ทางราชการมอบหมายโดยจัดสรรงบประมาณหรืบุคลากรให้ตามความจำเป็นและสมควร มาตรา 67 (9)
- ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของราษฎร ในการมีมาตรการป้องกัน มาตรา 16 (16)
- การประสานและให้ความร่วมมือในการปฏิบัติหน้าที่ขององค์การปกครองส่วนท้องถิ่น มาตรา 17 (3)
- การสร้างและบำรุงรักษาทางบกและทางน้ำที่เชื่อมต่อระหว่างองค์การปกครองส่วนท้องถิ่นอื่น มาตรา 17 (16)